รายละเอียดงานวิจัย

  1. ผลของไซโตไคนินและออกซินต่อการเจริญเติบโตของกระเจียวสีชมพู ในสภาพปลอดเชื้อ
  2. Effect of Cytokinins and Auxins on Growth of Curcuma sp. Roxb in vitro.
  3. งานวิจัยสาขาเกษตรศาสตร์
  4. 2556
  5. ตนเอง
  6. งานวิจัยปริญญาตรี
  7. นายกิติพันธ์ โชติจันทร์
  8. สุจิตรา สืบนุการณ์
  9. บทคัดย่อ
    เรื่อง ผลของไซโตไคนินและออกซินต่อการเจริญเติบโตของกระเจียวสีชมพู
    ในสภาพปลอดเชื้อ
    Effect of Cytokinins and Auxins on Growth of Curcuma sp. Roxb in
    vitro.
    โดย นายกิติพันธ์ โชติจันทร์
    ชื่อปริญญา วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรศาสตร์)
    ปีการศึกษา 2556
    อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ ดร. สุจิตรา สืบนุการณ์
    ผลของไซโตไคนินและออกซินต่อการเจริญเติบโตของกระเจียวสีชมพูในสภาพปลอดเชื้อ โดยวางแผนการทดลองแบบ 7×4 Factorial in Completely Randomized Design (Factorial in CRD) มีปัจจัย A ได้แก่ a1=0 mg/l, a2=1 mg/l, a3=2 mg/l, a4=3 mg/l, a5=4 mg/l, a6=5 mg/l และ a7=6 mg/l และปัจจัย B ได้แก่ b1=0 mg/l, b2=0.05 mg/l, b3=0.5 mg/l และ b4=1 mg/l รวมทั้งหมด 28 กลุ่มทดลองๆ ละ 10 ซ้าๆ ละ 1 ขวด พบว่า สูตรอาหารที่เหมาะสมในการเพาะเลี้ยงกระเจียวสีชมพูและสามารถพัฒนาไปเป็นต้นพืชที่สมบูรณ์ คือ อาหารสูตร MS ที่เติม BA 6 mg/l เนื้อเยื่อมีการพัฒนาและเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ได้ต้นกล้ามีความสูงเฉลี่ยของต้น และจานวนยอด/หน่อ เฉลี่ยมากที่สุด คือ 1.30 เซนติเมตร และ 0.20 ยอด ตามลาดับ รองลงมาคือ สูตร MS ที่เติม BA 5 mg/l ร่วมกับ NAA 0.05 mg/l มีความสูงเฉลี่ยของต้น คือ 1.20 เซนติเมตร
    คำสำคัญ ไซโตไคนิน ออกซิน กระเจียวสีชมพู สภาพปลอดเชื้อ

  10. ไซโตไคนิน ออกซิน กระเจียวสีชมพู สภาพปลอดเชื้อ
  11. ดาวน์โหลด


  12.     








เข้าสู่ระบบ