งานวิจัยที่มีผู้เข้าดูมากที่สุด

ชื่อเรื่อง ประเภทงานวิจัย ปีที่พิมพ์ อ่าน รายละเอียด
การเปรียบเทียบผลของการใช้กรดซิตริก (Citric Acid) และสารละลาย เกลือแกง (Sodium chloride) ที่มีความเข้มข้นและระยะเวลาแตกต่างกัน ซึ่งส่งผลต่อการยับยั้งการเกิดปฏิกิริยาสีน้าตาลในแอปเปิลตัดแต่ง งานวิจัยสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร 2555
93100
อิทธิพลของการใช้ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยคอกต่อการให้ผลผลิตของดาวเรืองพันธุ์ ทองเฉลิม 5011 งานวิจัยสาขาเกษตรศาสตร์ 2556
93065
การใช้นํ้าหมักชีวภาพต่อการเจริญเติบโตและคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวของผักกาดหอมเรดโอ๊คที่ปลูก ในระบบไฮโดรโปนิกส์ งานวิจัยสาขาเกษตรศาสตร์ 2556
92431

งานวิจัยที่มีผู้เข้าดาวน์โหลดมากที่สุด

ชื่อเรื่อง ประเภทงานวิจัย ปีที่พิมพ์ ดาวน์โหลด รายละเอียด
การเปรียบเทียบผลของการใช้กรดซิตริก (Citric Acid) และสารละลาย เกลือแกง (Sodium chloride) ที่มีความเข้มข้นและระยะเวลาแตกต่างกัน ซึ่งส่งผลต่อการยับยั้งการเกิดปฏิกิริยาสีน้าตาลในแอปเปิลตัดแต่ง งานวิจัยสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร 2555
356
อิทธิพลของการใช้ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยคอกต่อการให้ผลผลิตของดาวเรืองพันธุ์ ทองเฉลิม 5011 งานวิจัยสาขาเกษตรศาสตร์ 2556
570
การใช้นํ้าหมักชีวภาพต่อการเจริญเติบโตและคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวของผักกาดหอมเรดโอ๊คที่ปลูก ในระบบไฮโดรโปนิกส์ งานวิจัยสาขาเกษตรศาสตร์ 2556
345

การเปรียบเทียบอาหารเพาะเชื้อเห็ดนางรมบริสุทธิ์จากพืชท้องถิ่น กับอาหารวุ้น มาตรฐาน
ผู้วิจัย ยุภา คำลือไชย | ปีที่พิมพ์ 2557 | อ่าน 87966 ครั้ง ดาวน์โหลด 9 ครั้ง

บทคัดย่อ

 

 

เรื่อง                  การเปรียบเทียบอาหารเพาะเชื้อเห็ดนางรมบริสุทธิ์จากพืชท้องถิ่น  กับอาหารวุ้น     มาตรฐาน

                     Comparison of Oyster Mushroom Mycelium Culture Media from                      Local Plants and Standard Agar Media

โดย                   นางสาวยุภา  คำลือไชย

ชื่อปริญญา          วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรศาสตร์)

ปีการศึกษา          2557

อาจารย์ที่ปรึกษา   อาจารย์ ดร.เสกสรร  ชินวัง  

            ศึกษาการเปรียบเทียบอาหารเพาะเชื้อเห็ดนางรมบริสุทธิ์จากพืชท้องถิ่น  กับอาหารวุ้นมาตรฐานโดยวางแผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block Design (RCBD) แบ่งกลุ่มทดลองออกเป็น 5 กลุ่มทดลองๆ ละ 3 ซ้ำๆ ละ 10 ชิ้น พบว่า กลุ่มทดลองที่ 1 (อาหารเลี้ยงเชื้อจากผงวุ้น 15 กรัม) เหมาะสมที่สุด เนื่องจากมีการเจริญเติบโตของเส้นใยเห็ด จำนวนช่อดอก จำนวนดอก น้ำหนักผลผลิตสดและขนาดเส้นผ่าศูนย์ของดอกเฉลี่ยมากที่สุด คือ 1.89 เซนติเมตรต่อวัน  2 ช่อ

ต่อถุง 31.49 ดอกต่อถุง  218.02 กรัมต่อถุง และ 2.88 เซนติเมตรต่อถุง แต่หากต้องการใช้วัตถุดิบอื่นทดแทนผงวุ้น พบว่า กลุ่มทดลองที่ 5 (อาหารเลี้ยงเชื้อจากแป้งข้าวโพด 150 กรัม) มีความเหมาะสมมากที่สุด เนื่องจาก ทุกดัชนีตัวชี้วัดมีค่าอยู่ในระดับปานกลาง รองจากกลุ่มทดลองที่ 1และให้ผลผลิตเกรด A ไม่แตกต่างทางสถิติ จากกลุ่มทดลองทื่ 1 ในขณะที่ กลุ่มทดลองที่ 4 (อาหารเลี้ยงเชื้อจากแป้งข้าวเจ้า 150 กรัม) ไม่ควรนำมาใช้ทดแทนผงวุ้นในการเพาะเลี้ยงเชื้อเห็ดนางรม เนื่องจากทุกดัชนีตัวชี้วัดมีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด

คำสำคัญ  อาหารเพาะเชื้อเห็ด  เห็ดนางรมพืชท้องถิ่น 

 



การใช้กากมันสาปะหลังในอาหาร ต่อสมรรถนะการเจริญเติบโตของไก่เนื้อ
ผู้วิจัย นุจรินทร์ ฉวีรักษ์และคณะ | ปีที่พิมพ์ 2557 | อ่าน 88838 ครั้ง ดาวน์โหลด 6 ครั้ง



ผลของอัตราการให๎ปุ๋ยเคมีและปุ๋ยอินทรีย์ตํอการเจริญเติบโตและผลผลิตของ ข๎าวขาวดอกมะลิ 105 ในพื้นที่ อาเภอทุํงศรีอุดม จังหวัดอุบลราชธานี
ผู้วิจัย อรพรรณ หมุนแก๎ว | ปีที่พิมพ์ 2557 | อ่าน 88614 ครั้ง ดาวน์โหลด 3 ครั้ง

บทคัดย่อ
เรื่อง ผลของอัตราการให๎ปุ๋ยเคมีและปุ๋ยอินทรีย์ตํอการเจริญเติบโตและผลผลิตของ
ข๎าวขาวดอกมะลิ 105 ในพื้นที่ อาเภอทุํงศรีอุดม จังหวัดอุบลราชธานี
Effects of Chemical and Organic Fertilizer Application Rates on Growth and Yield of KDML 105 Rice in Thungsriudom District, Ubon Ratchathani Province
โดย นางสาวอรพรรณ หมุนแก๎ว
ชื่อปริญญา วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรศาสตร์)
ปีการศึกษา 2557
อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์โดม หาญพิชิตวิทยา
ศึกษาอัตราการให๎ปุ๋ยเคมีและปุ๋ยอินทรีย์ที่เหมาะสมตํอการเจริญเติบโตและผลผลิตของข๎าวขาวดอกมะลิ 105 โดยวางแผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block Design (RCBD) จานวน 5 กลุํมทดลองๆ ละ 3 ซ้า ขนาดแปลงทดลอง 2×5 เมตร จานวน 15 แปลงยํอย
ผลการทดลองพบวำ การใสํปุ๋ยคอกจากมูลวัว อัตรา 200 กิโลกรัมตํอไรํ รํวมกับปุ๋ยเคมี สูตร 16-16-8 อัตรา 9 กิโลกรัมตํอไรํ สูตร 0-0-60 อัตรา 1 กิโลกรัมตํอไรํ และสูตร 46-0-0 อัตรา 8 กิโลกรัมตํอไรํ ชํวงหลังปักดา ครั้งที่ 2 และใสํปุ๋ยสูตร 46-0-0 อัตรา 11 กิโลกรัมตํอไรํ ระยะกาเนิดชํอดอก มีประสิทธิภาพมากที่สุด เนื่องจากมีความสูงเฉลี่ยของต๎น จานวนรวงตํอกอ น้าหนักผลผลิตเฉลี่ย และดัชนีการเก็บเกี่ยวสูงที่สุดคือ 148 เซนติเมตร 19.4 รวงตํอกอ 511 กิโลกรัมตํอไรํและ 0.67ตามลาดับ ในขณะเดียวกันก็มี เปอร์เซ็นต์เมล็ดลีบน๎อยที่สุดคือ 6.6 เปอร์เซ็นต์ รองลงมาได๎แกํ การใสํปุ๋ยเคมีสูตร 16-16-8 อัตรา 9 กิโลกรัมตํอไรํ สูตร 0-0-60 อัตรา 1 กิโลกรัมตํอไรํ และสูตร 46-0-0 อัตรา
8 กิโลกรัมตํอไรํ ชํวงหลัง ปักดา ครั้งที่ 2 และใสํปุ๋ยสูตร 46-0-0 อัตรา 11 กิโลกรัมตํอไรํ ระยะกาเนิดชํอดอก มีความสูงเฉลี่ยของต๎น จานวนรวงตํอกอ เปอร์เซ็นต์เมล็ดลีบ น้าหนักผลผลิตเฉลี่ย และดัชนีการเก็บเกี่ยวเทำกับ 141 เซนติเมตร 18.6 รวงตํอกอ 5.3 เปอร์เซ็นต์ 426 กิโลกรัมตํอไรํ และ 0.56 ตามลาดับ และมีความแตกตำงกันทางสถิติ (p ≤ 0.01)
คาสาคัญ ข๎าวขาวดอกมะลิ 105 ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยคอกจากมูลวัว


เว็บพนันอันดับ1 HUC99 เว็บตรง ไม่ผ่านเอเย่นต์



คุณค่าทางอาหารของใบมันสาปะหลังหมักสาหรับโคพื้นเมืองไทย
ผู้วิจัย นาย จีระวัฒน์ พรมสีใหม่ และคณะ | ปีที่พิมพ์ 2559 | อ่าน 88714 ครั้ง ดาวน์โหลด 10 ครั้ง

บทคัดย่อ
การทาปัญหาพิเศษครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินคุณค่าทางโภชนะในส่วนของใบมันสาปะหลังหมักสาหรับโคพันธุ์บราห์มันโดยนาใบมันสาปะหลังหมักกับกากน้าตาลในระดับต่างๆกันได้แก่ 0, 10, 15, 20 เปอร์เซ็นต์ และเพื่อเป็นแนวทางในการจัดการอาหารในช่วงฤดูกาลขาดแคลน ตามแผนการทดลองแบบCompletely Randomized Design(CRD)
การศึกษาส่วนประกอบทางเคมี พบว่าใบมันสาปะหลังหมักร่วมกับกากน้าตาลที่ระดับ 15 เปอร์เซ็นต์และน้า 100 ml. ระยะเวลาการหมัก21 วัน เป็นเวลาที่ทาให้พืชหมักมีคุณค่าทางอาหารสูงที่สุดโดยมีปริมาณโปรตีน 24.86เปอร์เซ็นต์ และค่า NDF สูงกว่ากลุ่มอื่นคือ 27.06 เปอร์เซ็นต์ (P<0.05)และการประเมินคุณภาพพืชหมักของกลุ่มนี้พบว่ามีค่าคะแนนประเมินสูงสุดคือ 23 คะแนน จาก 25 คะแนน จะมีสีน้าตาลอ่อน มีกลิ่นหอมเปรี้ยวคล้ายผลไม้ดอง
คาสาคัญ : ใบมันสาปะหลัง, กากน้าตาล, โคบราห์มัน
ABSTRACT This special issue is aimed at evaluating the nutritional value of the cassava leaves for Brahman Cattle feeding by fermenting the difference levels of molasses ( 0, 10, 15, 20 ) and Cassava leaves. To guide the way to manage of food during season shortage According to the plan of Completely Randomized Design (CRD)
Study of chemical composition, It was found that the cassava leaves were fermented with 15 percent molasses and 100 ml water. The 21 days fermentation time was the highest nutrient value of the fermented plants with the highest protein content. 24.86 percent and NDF 27.06% (P <0.05) and quality of fermented plants showed that this group shourd the high guality score of 23 out of 25.
Keywords: Cassava leaves, Molasses, Brahman Cattle


เข้าสู่ระบบ