งานวิจัยที่มีผู้เข้าดูมากที่สุด
ชื่อเรื่อง | ประเภทงานวิจัย | ปีที่พิมพ์ | อ่าน | รายละเอียด |
---|---|---|---|---|
การเปรียบเทียบผลของการใช้กรดซิตริก (Citric Acid) และสารละลาย เกลือแกง (Sodium chloride) ที่มีความเข้มข้นและระยะเวลาแตกต่างกัน ซึ่งส่งผลต่อการยับยั้งการเกิดปฏิกิริยาสีน้าตาลในแอปเปิลตัดแต่ง | งานวิจัยสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร | 2555 | ||
อิทธิพลของการใช้ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยคอกต่อการให้ผลผลิตของดาวเรืองพันธุ์ ทองเฉลิม 5011 | งานวิจัยสาขาเกษตรศาสตร์ | 2556 | ||
การใช้นํ้าหมักชีวภาพต่อการเจริญเติบโตและคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวของผักกาดหอมเรดโอ๊คที่ปลูก ในระบบไฮโดรโปนิกส์ | งานวิจัยสาขาเกษตรศาสตร์ | 2556 |
งานวิจัยที่มีผู้เข้าดาวน์โหลดมากที่สุด
ชื่อเรื่อง | ประเภทงานวิจัย | ปีที่พิมพ์ | ดาวน์โหลด | รายละเอียด |
---|---|---|---|---|
การเปรียบเทียบผลของการใช้กรดซิตริก (Citric Acid) และสารละลาย เกลือแกง (Sodium chloride) ที่มีความเข้มข้นและระยะเวลาแตกต่างกัน ซึ่งส่งผลต่อการยับยั้งการเกิดปฏิกิริยาสีน้าตาลในแอปเปิลตัดแต่ง | งานวิจัยสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร | 2555 | ||
อิทธิพลของการใช้ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยคอกต่อการให้ผลผลิตของดาวเรืองพันธุ์ ทองเฉลิม 5011 | งานวิจัยสาขาเกษตรศาสตร์ | 2556 | ||
การใช้นํ้าหมักชีวภาพต่อการเจริญเติบโตและคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวของผักกาดหอมเรดโอ๊คที่ปลูก ในระบบไฮโดรโปนิกส์ | งานวิจัยสาขาเกษตรศาสตร์ | 2556 |
ผู้วิจัย วิภารัตน์ พิจารณ์ และคณะ | ปีที่พิมพ์ 2558 | อ่าน 88679 ครั้ง ดาวน์โหลด 17 ครั้ง
งานวิจัยนี้ได้ศึกษาการหาปริมาณสารฟีนอลิกทั้งหมด ปริมาณสารฟลาโวนอยด์ทั้งหมด ฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระ และทดสอบฤทธิ์การต้านเชื้อแบคทีเรียของสารสกัดใบแคป่า โดยใช้ 95% เมทานอลเป็นตัวทำละลาย ผลผลิตร้อยละของสารสกัดแคป่าอยู่ที่ 29.52 ผลการศึกษาการหาปริมาณสารฟีนอลิกทั้งหมดอยู่ที่ 9.59±0.2362 mg GAE/g ของสารสกัดหยาบและปริมาณสารฟลาโวนอยด์ทั้งหมดอยู่ที่ 5.04±0.20 mg QE/g ของสารสกัดหยาบ การศึกษาความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี DPPH· และ reducing power ของสารสกัดจากใบแคป่า พบว่าสารสกัดแสดงฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระโดยมีความสามารถในการจับอนุมูลอิสระ DPPH·โดยมีค่า IC50 อยู่ในช่วง 168.50±1.17 mg/L ความสามารถในการรีดิวซ์พบว่า สารสกัดใบแคป่ามีความสามารถในการรีดิวซ์เหล็กและมีฤทธิ์เพิ่มขึ้นตามความเข้มข้นที่ใช้ การทดสอบฤทธิ์การต้านเชื้อแบคทีเรียด้วยวิธี Agar well diffusion พบว่า สารสกัดใบแคป่ายังมีฤทธิ์ในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรียบางตัวได้ไม่ดี แต่เชื่อว่าสารประกอบจากใบแคป่าน่าจะได้รับการพัฒนาเป็นยารักษาโรคที่มีสาเหตุมาจากอนุมูลอิสระได้
คำสำคัญ : สารประกอบฟีนอลิกทั้งหมด สารประกอบฟลาโวนอยด์ทั้งหมด ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ และ
ฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรีย
Title Antioxidant Capacity and Antibacterial Activity of Against Some Selected Human Pathogenic Khae-Pa Leave Extracts
Authors Wipharat Phijan
Mathawee paisawang
Thanyarat Thammarot
Advisor Dr.Nualyai Yaraksa
Co-adviser Dr. wareerat sanmanoch
Degree Bachelor of Science (Chemistry)
Year 2015
ABSTRACT
The objectives of this research are to investigating the total phenolics content, total flavonoids content, antioxidant activity and antibacterial activity of leaves khae-pa extracts. The solvent used for extraction was methanol. The yields of crude extracts were 29.52 Total phenolics and total flavonoid contentswere 9.59±0.24 mg GAE/g crude extracts and 5.04±0.20 mg QE/g crude extracts, respectively. The antioxidant capacity of crude extracts was determined by using 1,1-diphenyl-2-picrylhydrazyl (DPPH·) and reducing power assay and antibacterial activity of crude extracts was test against some selected human pathogenic bacteria by using Agar well diffusion method. The result found that the crude extract showed antioxidant activity with IC50 168.50±1.17 mg/L for which DPPH assay. For the reducing capability of crude extracts with reducing power assay, it showed the reducing antioxidant activity and possessed concentration dependence.For antibacterial activity determination, the crude extracts could not inhibit all test bacteria.
Keyword : Total phenolic, Total flavonoids, Antioxidant activity and Antibacterial
activity
ผู้วิจัย อุไรวรรณ กำเนิดสิงห์ | ปีที่พิมพ์ 2556 | อ่าน 89578 ครั้ง ดาวน์โหลด 78 ครั้ง
การใช้ขุยมะพร้าวเพื่อทดแทนขี้เลื่อยในการผลิตเห็ดนางนวล
Using Coconut Husk to Substitute Sawdust for
Pink Oyster Mushroom (Pleurotus djamo) Production
โดย นางสาวอุไรวรรณ กำเนิดสิงห์
ชื่อปริญญา วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรศาสตร์)
ปีการศึกษา 2556
อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ ดร.เสกสรร ชินวัง
ศึกษาการใช้ขุยมะพร้าวเพื่อทดแทนขี้เลื่อยในการผลิตเห็ดนางนวล โดยวางแผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block Design (RCBD)แบ่งเป็น 5 กลุ่มทดลองๆ ละ 3 ซ้ำ ๆ ละ 5 ถุง ๆ ละ 320 กรัม (น้ำหนักแห้ง) พบว่ากลุ่มทดลองที่มีระยะเวลาในการบ่มตัวของเชื้อเห็ดนานที่สุด คือ ขี้เลื่อย 100 % รองลงมาคือ การใช้ขี้เลื่อย 25% ขุยมะพร้าว 75% การใช้ ขี้เลื่อย 50% ขุยมะพร้าว 50% การใช้ขุยมะพร้าว 100% และการใช้ขี้เลื่อย 75% ขุยมะพร้าว 25% โดยมีระยะเวลาในการบ่มตัวของเชื้อเห็ดเท่ากับ 25.00 19.06 17.93 15.86 และ 15 วัน ตามลำดับ ส่วนกลุ่มทดลองที่มีจำนวนดอกที่ออกต่อถุงมากที่สุด คือขี้เลื่อย 100 % รองลงมาคือ การใช้ขี้เลื่อย 75% ขุมะพร้าว 25% การใช้ขี้เลื่อย 50% ขุยมะพร้าว 50% การใช้ขี้เลื่อย 25 ขุยมะพร้าว 75% และการใช้ขุยมะพร้าว 100% โดยมีจำนวนดอกเฉลี่ยที่ 6.95 6.19 3.53 3.13 และ 2.51 ดอก/ถุง ตามลำดับ สำหรับกลุ่มทดลองที่ให้น้ำหนักสดเฉลี่ยของเห็ดนางนวลสูงที่สุดคือ ขี้เลื่อย 75% ขุยมะพร้าว 25% รองลงมาคือ การใช้ขี้เลื่อย 100% การใช้ ขี้เลื่อย 50% ขุยมะพร้าว 50% การใช้ ขี้เลื่อย 25% ขุยมะพร้าว 75% และการใช้ขุยมะพร้าว 100% โดยมีน้ำหนักสดเฉลี่ยเท่ากับ 24.83 19.39 16.1814.68 และ13.48 กรัม/ถุง ตามลำดับ ดังนั้นหากต้องการใช้ ขุยมะพร้าวเพื่อทดแทน ขี้เลื่อยในการผลิตเห็ดนางนวล ควรใช้ในอัตราส่วนขี้เลื่อย 75% ขุยมะพร้าว 25% สามารถเป็นวัสดุทดแทนขี้เลื่อยในการผลิตเห็นนางนวลได้ดีที่สุด เนื่องจาก ใช้ระยะเวลาในการบ่มเชื้อเห็ดน้อยที่สุด ให้จำนวนดอกเฉลี่ยรองลงมาจากขี้เลื่อย และยังให้น้ำหนักผลผลิตสดเฉลี่ยสูงที่สุด
ผู้วิจัย พัชราภรณ์ จิตแสวง | ปีที่พิมพ์ 2557 | อ่าน 89195 ครั้ง ดาวน์โหลด 44 ครั้ง
บทคัดย่อ
เรื่อง การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของปุ๋ยอินทรีย์ชนิดต่างๆ ร่วมกับปุ๋ยเคมีต่อ
การเจริญเติบโตและผลผลิตของน้้าเต้า
Comparison of Chemical and Organic Fertilizer Efficiency on Growth
and Yield of Bottle Gourd (Lagenaria siceraria Standl)
โดย นางสาวพัชราภรณ์ จิตแสวง
ชื่อปริญญา วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรศาสตร์)
ปีการศึกษา 2557
อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์นงลักษณ์ พยัคฆศิรินาวิน
งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ชนิดต่างๆ ร่วมกับปุ๋ยเคมีต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของน้้าเต้าและเพื่อให้ทราบถึงชนิดของปุ๋ยอินทรีย์ที่สามารถใช้ร่วมกับปุ๋ยเคมีในการผลิตน้้าเต้าโดยวางแผนการทดลองแบบ RCBD จ้านวน 5 กลุ่มทดลองๆ ละ 3 ซ้้าๆ ละ 20 ต้นดังนี้ กลุ่มทดลองที่ 1 ใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 15-15-15 (อัตรา 50 กิโลกรัมต่อไร่) กลุ่มทดลองที่ 2 ใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 15-15-15 (อัตรา 30 กิโลกรัมต่อไร่) ร่วมกับปุ๋ยมูลโค (อัตรา 1,000 กิโลกรัมต่อไร่) กลุ่มทดลองที่ 3 ใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 15-15-15 (อัตรา 30 กิโลกรัมต่อไร่) ร่วมกับปุ๋ยมูลไก่ (อัตรา 500 กิโลกรัมต่อไร่) กลุ่มทดลองที่ 4 ใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 15-15-15 (อัตรา 30 กิโลกรัมต่อไร่) ร่วมกับปุ๋ยมูลสุกร (อัตรา 500 กิโลกรัมต่อไร่) และ กลุ่มทดลองที่ 5 ใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 15-15-15 (อัตรา 30 กิโลกรัมต่อไร่) ร่วมกับปุ๋ยมูลค้างคาว (อัตรา 50 กิโลกรัมต่อไร่) ผลการทดลองพบว่าในกลุ่มทดลองที่ 3 ใช้ปุ๋ยเคมีสูตร 15-15-15 (อัตรา 30 กิโลกรัมต่อไร่) ร่วมกับปุ๋ยมูลไก่ (อัตรา 500 กิโลกรัมต่อไร่) มีประสิทธิภาพมากที่สุดคือมีความสูงเฉลี่ยของต้น ( 200.00 เซนติเมตร) จ้านวนดอกติดผลผลิตเฉลี่ย (21.65 ดอกต่อต้น) ความกว้างผลเฉลี่ย (17.60 เซนติเมตร) จ้านวนผลผลิตเฉลี่ย (18.99 ผลต่อต้น) น้้าหนักผลผลิตเฉลี่ย (17.12 กิโลกรัม) และผลผลิตเกรด B (33.33 เปอร์เซ็นต์) มากที่สุด ในขณะกลุ่มทดลองที่ 5 ให้ผลผลิตตกเกรดหรือเกรด C มากที่สุดคือ 90.00 เปอร์เซ็นต์ จากการวิจัยครั้งนี้ชี้ให้เห็นว่าการใช้ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของน้้าเต้า ที่เหมาะสมที่สุดคือ ปุ๋ยเคมีสูตร 15-15-15 (อัตรา 30 กิโลกรัมต่อไร่) ร่วมกับปุ๋ยมูลไก่ (อัตรา 500 กิโลกรัมต่อไร่)
คาสาคัญ น้้าเต้า ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยมูลโค ปุ๋ยมูลไก่ ปุ๋ยมูลสุกร ปุ๋ยมูลค้างคาว
ผู้วิจัย อรพรรณ หมุนแก๎ว | ปีที่พิมพ์ 2557 | อ่าน 88566 ครั้ง ดาวน์โหลด 3 ครั้ง
บทคัดย่อ
เรื่อง ผลของอัตราการให๎ปุ๋ยเคมีและปุ๋ยอินทรีย์ตํอการเจริญเติบโตและผลผลิตของ
ข๎าวขาวดอกมะลิ 105 ในพื้นที่ อาเภอทุํงศรีอุดม จังหวัดอุบลราชธานี
Effects of Chemical and Organic Fertilizer Application Rates on Growth and Yield of KDML 105 Rice in Thungsriudom District, Ubon Ratchathani Province
โดย นางสาวอรพรรณ หมุนแก๎ว
ชื่อปริญญา วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรศาสตร์)
ปีการศึกษา 2557
อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์โดม หาญพิชิตวิทยา
ศึกษาอัตราการให๎ปุ๋ยเคมีและปุ๋ยอินทรีย์ที่เหมาะสมตํอการเจริญเติบโตและผลผลิตของข๎าวขาวดอกมะลิ 105 โดยวางแผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block Design (RCBD) จานวน 5 กลุํมทดลองๆ ละ 3 ซ้า ขนาดแปลงทดลอง 2×5 เมตร จานวน 15 แปลงยํอย
ผลการทดลองพบวำ การใสํปุ๋ยคอกจากมูลวัว อัตรา 200 กิโลกรัมตํอไรํ รํวมกับปุ๋ยเคมี สูตร 16-16-8 อัตรา 9 กิโลกรัมตํอไรํ สูตร 0-0-60 อัตรา 1 กิโลกรัมตํอไรํ และสูตร 46-0-0 อัตรา 8 กิโลกรัมตํอไรํ ชํวงหลังปักดา ครั้งที่ 2 และใสํปุ๋ยสูตร 46-0-0 อัตรา 11 กิโลกรัมตํอไรํ ระยะกาเนิดชํอดอก มีประสิทธิภาพมากที่สุด เนื่องจากมีความสูงเฉลี่ยของต๎น จานวนรวงตํอกอ น้าหนักผลผลิตเฉลี่ย และดัชนีการเก็บเกี่ยวสูงที่สุดคือ 148 เซนติเมตร 19.4 รวงตํอกอ 511 กิโลกรัมตํอไรํและ 0.67ตามลาดับ ในขณะเดียวกันก็มี เปอร์เซ็นต์เมล็ดลีบน๎อยที่สุดคือ 6.6 เปอร์เซ็นต์ รองลงมาได๎แกํ การใสํปุ๋ยเคมีสูตร 16-16-8 อัตรา 9 กิโลกรัมตํอไรํ สูตร 0-0-60 อัตรา 1 กิโลกรัมตํอไรํ และสูตร 46-0-0 อัตรา
8 กิโลกรัมตํอไรํ ชํวงหลัง ปักดา ครั้งที่ 2 และใสํปุ๋ยสูตร 46-0-0 อัตรา 11 กิโลกรัมตํอไรํ ระยะกาเนิดชํอดอก มีความสูงเฉลี่ยของต๎น จานวนรวงตํอกอ เปอร์เซ็นต์เมล็ดลีบ น้าหนักผลผลิตเฉลี่ย และดัชนีการเก็บเกี่ยวเทำกับ 141 เซนติเมตร 18.6 รวงตํอกอ 5.3 เปอร์เซ็นต์ 426 กิโลกรัมตํอไรํ และ 0.56 ตามลาดับ และมีความแตกตำงกันทางสถิติ (p ≤ 0.01)
คาสาคัญ ข๎าวขาวดอกมะลิ 105 ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยคอกจากมูลวัว
เว็บพนันอันดับ1 HUC99 เว็บตรง ไม่ผ่านเอเย่นต์