งานวิจัยที่มีผู้เข้าดูมากที่สุด

ชื่อเรื่อง ประเภทงานวิจัย ปีที่พิมพ์ อ่าน รายละเอียด
การเปรียบเทียบผลของการใช้กรดซิตริก (Citric Acid) และสารละลาย เกลือแกง (Sodium chloride) ที่มีความเข้มข้นและระยะเวลาแตกต่างกัน ซึ่งส่งผลต่อการยับยั้งการเกิดปฏิกิริยาสีน้าตาลในแอปเปิลตัดแต่ง งานวิจัยสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร 2555
92913
อิทธิพลของการใช้ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยคอกต่อการให้ผลผลิตของดาวเรืองพันธุ์ ทองเฉลิม 5011 งานวิจัยสาขาเกษตรศาสตร์ 2556
92860
การใช้นํ้าหมักชีวภาพต่อการเจริญเติบโตและคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวของผักกาดหอมเรดโอ๊คที่ปลูก ในระบบไฮโดรโปนิกส์ งานวิจัยสาขาเกษตรศาสตร์ 2556
92276

งานวิจัยที่มีผู้เข้าดาวน์โหลดมากที่สุด

ชื่อเรื่อง ประเภทงานวิจัย ปีที่พิมพ์ ดาวน์โหลด รายละเอียด
การเปรียบเทียบผลของการใช้กรดซิตริก (Citric Acid) และสารละลาย เกลือแกง (Sodium chloride) ที่มีความเข้มข้นและระยะเวลาแตกต่างกัน ซึ่งส่งผลต่อการยับยั้งการเกิดปฏิกิริยาสีน้าตาลในแอปเปิลตัดแต่ง งานวิจัยสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร 2555
356
อิทธิพลของการใช้ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยคอกต่อการให้ผลผลิตของดาวเรืองพันธุ์ ทองเฉลิม 5011 งานวิจัยสาขาเกษตรศาสตร์ 2556
570
การใช้นํ้าหมักชีวภาพต่อการเจริญเติบโตและคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวของผักกาดหอมเรดโอ๊คที่ปลูก ในระบบไฮโดรโปนิกส์ งานวิจัยสาขาเกษตรศาสตร์ 2556
345

ผลของอัตราการให๎ปุ๋ยเคมีและปุ๋ยอินทรีย์ตํอการเจริญเติบโตและผลผลิตของ ข๎าวขาวดอกมะลิ 105 ในพื้นที่ อาเภอทุํงศรีอุดม จังหวัดอุบลราชธานี
ผู้วิจัย อรพรรณ หมุนแก๎ว | ปีที่พิมพ์ 2557 | อ่าน 88492 ครั้ง ดาวน์โหลด 3 ครั้ง

บทคัดย่อ
เรื่อง ผลของอัตราการให๎ปุ๋ยเคมีและปุ๋ยอินทรีย์ตํอการเจริญเติบโตและผลผลิตของ
ข๎าวขาวดอกมะลิ 105 ในพื้นที่ อาเภอทุํงศรีอุดม จังหวัดอุบลราชธานี
Effects of Chemical and Organic Fertilizer Application Rates on Growth and Yield of KDML 105 Rice in Thungsriudom District, Ubon Ratchathani Province
โดย นางสาวอรพรรณ หมุนแก๎ว
ชื่อปริญญา วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรศาสตร์)
ปีการศึกษา 2557
อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์โดม หาญพิชิตวิทยา
ศึกษาอัตราการให๎ปุ๋ยเคมีและปุ๋ยอินทรีย์ที่เหมาะสมตํอการเจริญเติบโตและผลผลิตของข๎าวขาวดอกมะลิ 105 โดยวางแผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block Design (RCBD) จานวน 5 กลุํมทดลองๆ ละ 3 ซ้า ขนาดแปลงทดลอง 2×5 เมตร จานวน 15 แปลงยํอย
ผลการทดลองพบวำ การใสํปุ๋ยคอกจากมูลวัว อัตรา 200 กิโลกรัมตํอไรํ รํวมกับปุ๋ยเคมี สูตร 16-16-8 อัตรา 9 กิโลกรัมตํอไรํ สูตร 0-0-60 อัตรา 1 กิโลกรัมตํอไรํ และสูตร 46-0-0 อัตรา 8 กิโลกรัมตํอไรํ ชํวงหลังปักดา ครั้งที่ 2 และใสํปุ๋ยสูตร 46-0-0 อัตรา 11 กิโลกรัมตํอไรํ ระยะกาเนิดชํอดอก มีประสิทธิภาพมากที่สุด เนื่องจากมีความสูงเฉลี่ยของต๎น จานวนรวงตํอกอ น้าหนักผลผลิตเฉลี่ย และดัชนีการเก็บเกี่ยวสูงที่สุดคือ 148 เซนติเมตร 19.4 รวงตํอกอ 511 กิโลกรัมตํอไรํและ 0.67ตามลาดับ ในขณะเดียวกันก็มี เปอร์เซ็นต์เมล็ดลีบน๎อยที่สุดคือ 6.6 เปอร์เซ็นต์ รองลงมาได๎แกํ การใสํปุ๋ยเคมีสูตร 16-16-8 อัตรา 9 กิโลกรัมตํอไรํ สูตร 0-0-60 อัตรา 1 กิโลกรัมตํอไรํ และสูตร 46-0-0 อัตรา
8 กิโลกรัมตํอไรํ ชํวงหลัง ปักดา ครั้งที่ 2 และใสํปุ๋ยสูตร 46-0-0 อัตรา 11 กิโลกรัมตํอไรํ ระยะกาเนิดชํอดอก มีความสูงเฉลี่ยของต๎น จานวนรวงตํอกอ เปอร์เซ็นต์เมล็ดลีบ น้าหนักผลผลิตเฉลี่ย และดัชนีการเก็บเกี่ยวเทำกับ 141 เซนติเมตร 18.6 รวงตํอกอ 5.3 เปอร์เซ็นต์ 426 กิโลกรัมตํอไรํ และ 0.56 ตามลาดับ และมีความแตกตำงกันทางสถิติ (p ≤ 0.01)
คาสาคัญ ข๎าวขาวดอกมะลิ 105 ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยคอกจากมูลวัว


เว็บพนันอันดับ1 HUC99 เว็บตรง ไม่ผ่านเอเย่นต์



การใช้ฟางข้าวเพื่อทดแทนขี้เลื่อยในการเพาะเห็ดแครง
ผู้วิจัย ศิรินันท์ ศิริยา | ปีที่พิมพ์ 2557 | อ่าน 90635 ครั้ง ดาวน์โหลด 101 ครั้ง

บทคัดย่อ
เรื่อง การใช้ฟางข้าวเพื่อทดแทนขี้เลื่อยในการเพาะเห็ดแครง
Using Rice Straw to Substitute Sawdust for Spilt Gill Mushroom
(Schizophyllum commune) Production
โดย นางสาวศิรินันท์ ศิริยา
ชื่อปริญญา วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรศาสตร์)
ปีการศึกษา 2557
อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ ดร. เสกสรร ชินวัง
ศึกษาการใช้ฟางข้าวเพื่อทดแทนขี้เลื่อยในการเพาะเห็ดแครง วางแผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block Design ( RCBD ) แบ่งการทดลองออกเป็น 5 กลุ่มทดลอง ๆ ละ 3 ซ้า ๆ ละ 5 ถุง ๆ ละ 320 กรัม โดยให้ กลุ่มทดลองที่ 1 ขี้เลื่อย 100% (Control) กลุ่มทดลองที่
2 ขี้เลื่อย 75% ฟางข้าว 25% กลุ่มทดลองที่ 3 ขี้เลื่อย 50% ฟางข้าว 50% กลุ่มทดลองที่ 4 ขี้เลื่อย 25% ฟางข้าว 75% และ กลุ่มทดลองที่ 5 ฟางข้าว 100% พบว่าการใช้ฟางข้าว 100% เป็นอัตราส่วนที่เหมาะสมมากที่สุดและสามารถใช้ทดแทนขี้เลื่อยเป็นอย่างดี เนื่องจาก มีระยะเวลาในการบ่มเชื้อเร็วที่สุด มีจานวนดอกเห็ดเฉลี่ย และน้าหนักผลผลิตสดเฉลี่ยมากที่สุด คือ 15.1 วัน 79 ดอกต่อถุง และ 20.5 กรัม ตามลาดับ รองลงมา ได้แก่ การใช้ขี้เลื่อย 25% ฟางข้าว 75% มีระยะการบ่มตัวของเชื้อ และน้าหนักผลผลิตสดเฉลี่ยปานกลาง คือ 16.1 วัน และ 18.7 กรัม ตามลาดับ แต่ให้จานวนดอกเฉลี่ยไม่แตกต่างทางสถิติกับ ฟางข้าว 100% คือมีจานวนดอกเฉลี่ยมากที่สุดเท่ากับ 78.5 ดอกต่อถุง ในขณะที่การใช้ขี้เลื่อย 100% เป็นวัสดุเพาะไม่แนะนาให้ใช้ในการเพาะเห็ดแครง เนื่องจาก ระยะเวลาในการบ่มตัวของเชื้อเห็ดช้าที่สุด (21 วัน) และมีปริมาณดอกเห็ดเฉลี่ยและน้าหนักผลผลิตสดเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ 57.1 ดอก/ถุง และ 15.2 กรัม/ถุง และเมื่อศึกษาผลกระทบของอัตราส่วนของฟางข้าวในวัสดุเพาะ พบว่าการเพิ่มฟางข้าวให้มากขึ้นส่งผลให้มีระยะเวลาในการบ่มตัวของเชื้อเห็ดก่อนการออกดอกเร็วขึ้น จานวนดอกเห็ดเฉลี่ย และน้าหนักผลผลิตสดเฉลี่ยเพิ่มมากขึ้นตามลาดับ
คาสาคัญ เห็ดแครง ฟางข้าว และผลผลิต


สล็อตออนไลน์ เครดิตโบนัสได้เงินจริง slot938



การย่อยได้ของใบตองหมักกากน้ำตาลโดยใช้เทคนิคถุงไนล่อน
ผู้วิจัย ชินวัฒน์ ชูรัตน์ | ปีที่พิมพ์ 2557 | อ่าน 88602 ครั้ง ดาวน์โหลด 16 ครั้ง



การใช้ข้าวโพดสับเพื่อทดแทนขี้เลื่อยในการเพาะเห็ดนางฟ้า
ผู้วิจัย สุธิดา วิชาพูล | ปีที่พิมพ์ 2556 | อ่าน 88831 ครั้ง ดาวน์โหลด 12 ครั้ง

การใช้ข้าวโพดสับเพื่อทดแทนขี้เลื่อยในการเพาะเห็ดนางฟ้า

                             Using Chopped Corn Stalk to Substitute Sawdust for

                             Oyster    Mushroom (Pleurotus sajor-caju) Production                          

โดย                      นางสาวสุธิดา     วิชาพูล

ชื่อปริญญา          วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรศาสตร์)

ปีการศึกษา          2556

อาจารย์ที่ปรึกษา  อาจารย์ ดร. เสกสรร  ชินวัง

 

                  ศึกษาการใช้ลำต้นข้าวโพดสับเพื่อทดแทนขี้เลื่อยในการเพาะเห็ดนางฟ้าโดยวางแผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block Design (RCBD)  แบ่งกลุ่มทดลองออกเป็น 5 กลุ่มทดลองๆ ละ 3 ซ้ำๆ ละ 5 ถุง ๆละ 320 กรัม (น้ำหนักแห้ง) พบว่า ระยะเวลาในการบ่มเชื้อของเห็ดนานที่สุด คือ ในกลุ่มทดลองที่ 5  (ลำต้นข้าวโพดสับ 100%) รองลงมาคือ กลุ่มทดลองที่ 4(ขี้เลื่อย 25% ลำต้นข้าวโพดสับ 75%) กลุ่มทดลองที่ 3 (ขี้เลื่อย 50% ลำต้นข้าวโพดสับ 50%)  กลุ่มทดลองที่ 1(ขี้เลื่อย 100%) และ กลุ่มทดลองที่ 2 (ขี้เลื่อย 75% ลำต้นข้าวโพดสับ 25%) โดยมีระยะเวลาบ่มเชื้อเห็ด คือ 28.93  22.9  22.06  21.53 และ 19.20 วัน ตามลำดับ จำนวนดอกที่ออกต่อถุงมากที่สุด คือ กลุ่มทดลองที่ 2  มีจำนวนดอกเฉลี่ย 5.69 ดอก/ถุง รองลงมาคือ  กลุ่มทดลองที่ 3 กลุ่มทดลองที่ 1 กลุ่มทดลองที่ 4 และกลุ่มทดลองที่ 5 โดยมีจำนวนดอกเฉลี่ยที่คือ 4.28  4.18 4.16 และ 3.54 ดอก/ถุง   ตามลำดับ น้ำหนักผลผลิตสดเฉลี่ยของเห็ดนางฟ้าสูงสุด คือ  กลุ่มทดลองที่ 2 ผลผลิตสดเฉลี่ยที่ 46.20 กรัม/ถุง รองลงมา กลุ่มทดลองที่ 5 กลุ่มทดลองที่ 3  กลุ่มทดลองที่ 1 และ กลุ่มทดลองที่ 4 โดยมีน้ำหนักผลผลิตสดเฉลี่ยที่ 36.40 35.13  33.11 และ 32.26  กรัม/ถุง   ตามลำดับ ดังนั้นอัตราส่วนที่เหมาะสมของลำต้นข้าวโพดสับเพื่อทดแทนขี้เลื่อยในการเพาะเห็ดนางฟ้า คือการใช้ลำต้นข้าวโพดสับ 25% ผสม ขี้เลื่อย 75% สามารถชักนำให้มีระยะเวลาในการบ่มเชื้อเร็วที่สุด ให้จำนวนดอกและน้ำหนักสดเฉลี่ยมากที่สุด สามารถลดต้นทุนได้

 


เข้าสู่ระบบ