รายละเอียดงานวิจัย

  1. คุณค่าทางอาหารของใบตองหมักสาหรับโคพันธุ์บราห์มัน
  2. Nutritive Value of Banana Leaves Silage for Brahman Cattle
  3. งานวิจัยสาขาสัตวศาสตร์
  4. 2559
  5. งานวิจัยปริญญาตรี
  6. นางสาวชัชชญา ชูรัตน์,นายกิตติพงษ์ โพธิ์ชัย,นางสาววรรณภรณ์ คชแพทย์
  7. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จุฑามาศ สิทธิวงศ์
  8. บทคัดย่อ
    งานวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินคุณค่าทางโภชนะในส่วนของใบตองหมักสาหรับ โคพันธุ์บราห์มัน โดยนาใบตองหมักกับน้าตาลซูโครสในระดับต่างๆกันและเพื่อเป็นแนวทางในการจัดการอาหารในช่วงฤดูขาดแคลน ตามแผนการทดลองแบบ Completely Randomizied Design (CRD) ประกอบด้วย 4 ทรีตเมนท์ ได้แก่ ใบตองหมักร่วมกับน้าตาลซูโครสที่ 0, 10, 15 และ 20 เปอร์เซ็นต์ และน้า 100 มิลลิลิตร แต่ละทรีตเมนท์ มี 2 ซ้า พบว่าหากต้องการค่าโปรตีนสูงสุดควรใช้น้าตาลซูโครส 10 % และที่ระยะเวลาการหมัก 7 วันซึ่งได้ค่าโปรตีน 12.92 เปอร์เซ็นต์ (P<0.05) แต่หากพิจารณาค่า ADL ต่าสุดคือ 26.25 เปอร์เซ็นต์ (P<0.05) และมีค่าคุณภาพของพืชหมักตามเกณฑ์ของ FLIEG เท่ากับ 96 คะแนน
    คำสำคัญ : ใบตองหมัก น้าตาลซูโครส แลคติคแอซิดแบคทีเรีย
    Abstract
    This research was to study the chemical composition. and The nutritive value of banana leaves silage for Brahman cattle.mixed which mixed with different sucrose levels to guide the management of feed shortage during the dry season. Ezperimental design was Compietely Randomized Design (CRD) with four treatments of sucrose leves as 0,10,15 and20 % and 100 ml at water.It was found that for the highest protein content,10% sucrose and 7 days fermentation were recommenday, with the protein content 12.92 % (P<0.05). However,considering the ADL value as the cell wall indicator, it showed that at 21 days of fermentation with 15% sucrose leaves silage base on FLIEG was 96.
    keyword: banana leaves silage, sucrose, lactic acid bacteria

  9. ใบตองหมัก น้าตาลซูโครส แลคติคแอซิดแบคทีเรีย
  10. ดาวน์โหลด


  11.     








เข้าสู่ระบบ