งานวิจัยที่มีผู้เข้าดูมากที่สุด

ชื่อเรื่อง ประเภทงานวิจัย ปีที่พิมพ์ อ่าน รายละเอียด
การเปรียบเทียบผลของการใช้กรดซิตริก (Citric Acid) และสารละลาย เกลือแกง (Sodium chloride) ที่มีความเข้มข้นและระยะเวลาแตกต่างกัน ซึ่งส่งผลต่อการยับยั้งการเกิดปฏิกิริยาสีน้าตาลในแอปเปิลตัดแต่ง งานวิจัยสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร 2555
93051
อิทธิพลของการใช้ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยคอกต่อการให้ผลผลิตของดาวเรืองพันธุ์ ทองเฉลิม 5011 งานวิจัยสาขาเกษตรศาสตร์ 2556
93015
การใช้นํ้าหมักชีวภาพต่อการเจริญเติบโตและคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวของผักกาดหอมเรดโอ๊คที่ปลูก ในระบบไฮโดรโปนิกส์ งานวิจัยสาขาเกษตรศาสตร์ 2556
92396

งานวิจัยที่มีผู้เข้าดาวน์โหลดมากที่สุด

ชื่อเรื่อง ประเภทงานวิจัย ปีที่พิมพ์ ดาวน์โหลด รายละเอียด
การเปรียบเทียบผลของการใช้กรดซิตริก (Citric Acid) และสารละลาย เกลือแกง (Sodium chloride) ที่มีความเข้มข้นและระยะเวลาแตกต่างกัน ซึ่งส่งผลต่อการยับยั้งการเกิดปฏิกิริยาสีน้าตาลในแอปเปิลตัดแต่ง งานวิจัยสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร 2555
356
อิทธิพลของการใช้ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยคอกต่อการให้ผลผลิตของดาวเรืองพันธุ์ ทองเฉลิม 5011 งานวิจัยสาขาเกษตรศาสตร์ 2556
570
การใช้นํ้าหมักชีวภาพต่อการเจริญเติบโตและคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวของผักกาดหอมเรดโอ๊คที่ปลูก ในระบบไฮโดรโปนิกส์ งานวิจัยสาขาเกษตรศาสตร์ 2556
345

ศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการทำตาลผงกึ่งสำเร็จรูปโดยใช้วิธีการทำแห้งแบบตู้อบลมร้อน
ผู้วิจัย นางสาวพิมพ์จันทร์ กุลพันธ์ และ นางสาวมุทิตา นามทอง | ปีที่พิมพ์ 2556 | อ่าน 90658 ครั้ง ดาวน์โหลด 107 ครั้ง

หัวข้อปัญหาพิเศษ      การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการทำตาลผงกึ่งสำเร็จรูปโดยใช้วิธีการทำแห้งแบบตู้อบลมร้อน

นักศึกษา                 นางสาวพิมพ์จันทร์  กุลพันธ์

                          นางสาวมุทิตา  นามทอง

อาจารย์ที่ปรึกษา        อาจารย์นิราศ  กิ่งวาที

 

การวิจัยครั้งนี้ได้ทำการศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการทำตาลผงกึ่งสำเร็จรูปโดยใช้วิธีการทำแห้งแบบตู้อบลมร้อน (Hot air oven) โดยนำลูกตาลสุกมาสกัดเอาเนื้อตาล แล้วนำเนื้อลูกตาลสุกที่ได้ไปทำแห้งด้วยวิธีการอบลมร้อนที่อุณหภูมิ 55 60 และ 65 องศาเซลเซียส วัดค่าความชื้นทุก 2 ชั่วโมง พบว่า การทำแห้งที่อุณหภูมิ 55 องศาเซลเซียส ใช้เวลาในการทำแห้ง 8 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 60    องศาเซลเซียส ใช้เวลาในการทำแห้ง 6 ชั่วโมง และที่อุณหภูมิ 65 องศาเซลเซียส ใช้เวลาในการทำแห้ง 4 ชั่วโมง ให้ค่าความชื้นใกล้เคียงกัน เท่ากับ 2.20 2.17 และ 2.16 ตามลำดับ ดังนั้นจึงทำตาลผงที่สภาวะดังกล่าวทั้ง 3 สภาวะ นำมาวิเคราะห์ค่าสี ความสามารถในการละลาย และทดสอบการยอมรับทางประสาทสัมผัส พบว่า การทำแห้งที่อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 6 ชั่วโมง เป็นอุณหภูมิและเวลาที่เหมาะสมที่สุด คือ ได้ตาลผงที่ค่าสี L* a* และb* มีค่าเท่ากับ 73.397.12และ 29.98 ตามลำดับ มีค่าความชื้นร้อยละ2.17 และความสามารถในการละลายดีที่สุดเท่ากับร้อยละ 15.71เมื่อนำตาลผงที่ได้จากการทำแห้งมาทำผลิตภัณฑ์ขนมตาลเพื่อเปรียบเทียบกับผลิตภัณฑ์ขนมตาลจากเนื้อตาลสด นำมาทดสอบทางด้านประสาทสัมผัสคุณลักษณะด้านสี กลิ่น รสชาติ เนื้อสัมผัส และความชอบรวม พบว่า ผลิตภัณฑ์ขนมตาลที่ทำจากตาลผงทำแห้งที่อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 6 ชั่วโมง มีความชอบรวมของผู้บริโภคสูงที่สุด

 

 



การใช้กากมันสาปะหลังในอาหาร ต่อสมรรถนะการเจริญเติบโตของไก่เนื้อ
ผู้วิจัย นุจรินทร์ ฉวีรักษ์และคณะ | ปีที่พิมพ์ 2557 | อ่าน 88774 ครั้ง ดาวน์โหลด 6 ครั้ง



การทาเชื้อเห็ดฟางจากมูลโค มูลกระบือ และมูลสุกร
ผู้วิจัย สมพงษ์ วงศ์ชัยภูมิ | ปีที่พิมพ์ 2557 | อ่าน 88344 ครั้ง ดาวน์โหลด 169 ครั้ง

บทคัดย่อ
เรื่อง การทาเชื้อเห็ดฟางจากมูลโค มูลกระบือ และมูลสุกร
Production of Rice Straw Mushroom Spawn from Cow Buffalo and Pig Manures
โดย นายสมพงษ์ วงศ์ชัยภูมิ
ชื่อปริญญา วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรศาสตร์)
ปีการศึกษา 2557
อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ ดร. เสกสรร ชินวัง
ศึกษาการทาเชื้อเห็ดฟางจากมูลโค มูลกระบือ และมูลสุกร เพื่อเปรียบเทียบกับเชื้อทางการค้า โดยวางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) มี 4 กลุ่มทดลองๆละ 3 ซ้าๆ ละ 5 ตะกร้า ผลการทดลอง พบว่า การเจริญเติบโตของเชื้อเห็ดฟาง และระยะเวลาที่ใช้ในการบ่มตัวของเชื้อเห็ดก่อนออกดอก ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ มีค่าเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 11.13 – 12.27 วัน และ 6 – 7 วัน ตามลาดับ ส่วนจานวนดอกเฉลี่ยที่ออกในแต่ละตะกร้า พบว่า เชื้อเห็ดจากมูลกระบือ มีจานวนดอกมากที่สุดคือ 16.66 ดอกต่อตะกร้า รองลงมาคือ เชื้อเห็ดทางการค้า เชื้อเห็ดจากมูลโค และ เชื้อเห็ดจากมูลสุกร โดยมีจานวนดอกเฉลี่ย 14.40 10.06 และ 9.86 ดอกต่อตะกร้า ตามลาดับ และมีความแตกต่างทางสถิติ (p=0.05) ในขณะที่น้าหนักผลผลิตของเห็ดฟางเฉลี่ยต่อ
ตะกร้า พบว่า เชื้อเห็ดทางการค้าให้น้าหนักผลผลิตเฉลี่ยมากที่สุด คือ 272.07 กรัมต่อตะกร้า รองลงมา คือ เชื้อเห็ดจากมูลกระบือ เชื้อเห็ดจากมูลโค และเชื้อเห็ดจากมูลสุกร 213.60 141.07 และ 108.47 กรัมต่อตะกร้า แสดงให้เห็นว่าเห็ดฟางสามารถเจริญเติบโตได้จากเชื้อเห็ดจากมูลโค เชื้อเห็ดจากมูลกระบือ และเชื้อเห็ดจากมูลสุกรได้ดี แต่ขนาดของดอกเล็ก และทาให้ได้น้าหนักผลผลิตเฉลี่ยน้อยลง ส่วนเชื้อเห็ดทางการค้า (ชุดควบคุม) ขนาดดอกสม่าเสมอและได้น้าหนักดีกว่า หากต้องการใช้มูลสัตว์ทดแทน เชื้อเห็ดทางการค้า แนะนาให้ใช้การทาเชื้อเห็ดฟางจากมูลกระบือ เนื่องจากมีจานวนดอกเฉลี่ยมากที่สุด และมีน้าหนักผลผลิตเฉลี่ย ไม่แตกต่างจากเชื้อเห็ดทางการค้า
คาสาคัญ เห็ดฟาง เชื้อเห็ดทางการค้า มูลโค กระบือ สุกร


แจกเครดิตฟรี สล็อต บาคาร่า คาสิโนออนไลน์ JQK41



ผลของการใช้ทางใบปาล์มน้้ามันอัดเม็ดในสูตรอาหารข้นต่อปริมาณน้้านมและองค์ประกอบทางเคมีของน้้านมในโครีดนม
ผู้วิจัย นายธนพล สีสุภา และคณะ | ปีที่พิมพ์ 2559 | อ่าน 87751 ครั้ง ดาวน์โหลด 7 ครั้ง

บทคัดย่อ
การทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้ทางใบปาล์มน้้ามันอัดเม็ดที่ระดับ 0, 25, 50 , และ75 เปอร์เซ็นต์ในสูตรอาหารข้นต่อปริมาณน้้านมและองค์ประกอบทางเคมีของน้้านมในโครีดนมที่ โดยใช้โครีดนมพันธุ์โฮสไตล์ฟรีเชี่ยนเพศเมีย จ้านวน 4 ตัว มีน้้าหนักเฉลี่ย 400 ± 500 กก. จัดโคเข้าทดลองตามแผนการทดลองแบบ 4x4 จัตุรัสลาติน ให้โคได้รับอาหารข้นในอัตราส่วนอาหารข้นต่อปริมาณน้้านม 1:2 และใช้ฟางข้าวหมักยูเรีย (5% ยูเรีย) เป็นอาหารหยาบโดยให้กินแบบเต็มที่ ผลการทดลองพบว่าการใช้ทางใบปาล์มน้้ามันอัดเม็ดในสูตรอาหารข้นส้าหรับโคนรีดนมท้าให้ปริมาณน้้านม และองค์ประกอบทางเคมีของน้้านม ได้แก่ โปรตีน ไขมัน น้้า ของแข็งที่ไม่รวมไขมัน ความหนาแน่นของน้้านม ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ (P>0.05) แต่การใช้ทางใบปาล์มน้้ามันอัดเม็ดที่ 25 เปอร์เซ็นต์ในสูตรอาหารข้นมีแนวโน้มท้าให้โคนมมีปริมาณน้้านมสูง
ค้าส้าคัญ: ทางใบปาล์มน้้ามันอัดเม็ด, ปริมาณน้้านม, องค์ประกอบทางเคมีของน้้านม, โครีดนม
ABSTRACT
This experiment was to study the effects of oil palm fronds pellet at 0, 25, 50 and 75% in concentrate on milk yield and milk composition in lactating dairy cows. Four, Holstein-Friesian cross bred cows with 400 + 500 kg body weight, were randomly assigned according to a 4x4 Latin Square Design. Cows were fed concentrate, at a ratio of concentrate to milk yield of 1:2, and urea treated rice straw (5% urea) were used as a roughage source ad libitum. The results showed that feeding cows with oil palm fronds pellet has no effect on milk yield and milk composition in term of protein, fat, water, solids not fat and density (P> 0.05). However, using oil palm fronds pellet at 25% in concentrate tend to increased milk yield.
Keywords: oil palm fronds pellet, milk yield, milk composition, lactating dairy cows


เข้าสู่ระบบ