งานวิจัยที่มีผู้เข้าดูมากที่สุด
ชื่อเรื่อง | ประเภทงานวิจัย | ปีที่พิมพ์ | อ่าน | รายละเอียด |
---|---|---|---|---|
การเปรียบเทียบผลของการใช้กรดซิตริก (Citric Acid) และสารละลาย เกลือแกง (Sodium chloride) ที่มีความเข้มข้นและระยะเวลาแตกต่างกัน ซึ่งส่งผลต่อการยับยั้งการเกิดปฏิกิริยาสีน้าตาลในแอปเปิลตัดแต่ง | งานวิจัยสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร | 2555 | ||
อิทธิพลของการใช้ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยคอกต่อการให้ผลผลิตของดาวเรืองพันธุ์ ทองเฉลิม 5011 | งานวิจัยสาขาเกษตรศาสตร์ | 2556 | ||
การใช้นํ้าหมักชีวภาพต่อการเจริญเติบโตและคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวของผักกาดหอมเรดโอ๊คที่ปลูก ในระบบไฮโดรโปนิกส์ | งานวิจัยสาขาเกษตรศาสตร์ | 2556 |
งานวิจัยที่มีผู้เข้าดาวน์โหลดมากที่สุด
ชื่อเรื่อง | ประเภทงานวิจัย | ปีที่พิมพ์ | ดาวน์โหลด | รายละเอียด |
---|---|---|---|---|
การเปรียบเทียบผลของการใช้กรดซิตริก (Citric Acid) และสารละลาย เกลือแกง (Sodium chloride) ที่มีความเข้มข้นและระยะเวลาแตกต่างกัน ซึ่งส่งผลต่อการยับยั้งการเกิดปฏิกิริยาสีน้าตาลในแอปเปิลตัดแต่ง | งานวิจัยสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร | 2555 | ||
อิทธิพลของการใช้ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยคอกต่อการให้ผลผลิตของดาวเรืองพันธุ์ ทองเฉลิม 5011 | งานวิจัยสาขาเกษตรศาสตร์ | 2556 | ||
การใช้นํ้าหมักชีวภาพต่อการเจริญเติบโตและคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวของผักกาดหอมเรดโอ๊คที่ปลูก ในระบบไฮโดรโปนิกส์ | งานวิจัยสาขาเกษตรศาสตร์ | 2556 |
ผู้วิจัย อรพรรณ หมุนแก๎ว | ปีที่พิมพ์ 2557 | อ่าน 88577 ครั้ง ดาวน์โหลด 3 ครั้ง
บทคัดย่อ
เรื่อง ผลของอัตราการให๎ปุ๋ยเคมีและปุ๋ยอินทรีย์ตํอการเจริญเติบโตและผลผลิตของ
ข๎าวขาวดอกมะลิ 105 ในพื้นที่ อาเภอทุํงศรีอุดม จังหวัดอุบลราชธานี
Effects of Chemical and Organic Fertilizer Application Rates on Growth and Yield of KDML 105 Rice in Thungsriudom District, Ubon Ratchathani Province
โดย นางสาวอรพรรณ หมุนแก๎ว
ชื่อปริญญา วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรศาสตร์)
ปีการศึกษา 2557
อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์โดม หาญพิชิตวิทยา
ศึกษาอัตราการให๎ปุ๋ยเคมีและปุ๋ยอินทรีย์ที่เหมาะสมตํอการเจริญเติบโตและผลผลิตของข๎าวขาวดอกมะลิ 105 โดยวางแผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block Design (RCBD) จานวน 5 กลุํมทดลองๆ ละ 3 ซ้า ขนาดแปลงทดลอง 2×5 เมตร จานวน 15 แปลงยํอย
ผลการทดลองพบวำ การใสํปุ๋ยคอกจากมูลวัว อัตรา 200 กิโลกรัมตํอไรํ รํวมกับปุ๋ยเคมี สูตร 16-16-8 อัตรา 9 กิโลกรัมตํอไรํ สูตร 0-0-60 อัตรา 1 กิโลกรัมตํอไรํ และสูตร 46-0-0 อัตรา 8 กิโลกรัมตํอไรํ ชํวงหลังปักดา ครั้งที่ 2 และใสํปุ๋ยสูตร 46-0-0 อัตรา 11 กิโลกรัมตํอไรํ ระยะกาเนิดชํอดอก มีประสิทธิภาพมากที่สุด เนื่องจากมีความสูงเฉลี่ยของต๎น จานวนรวงตํอกอ น้าหนักผลผลิตเฉลี่ย และดัชนีการเก็บเกี่ยวสูงที่สุดคือ 148 เซนติเมตร 19.4 รวงตํอกอ 511 กิโลกรัมตํอไรํและ 0.67ตามลาดับ ในขณะเดียวกันก็มี เปอร์เซ็นต์เมล็ดลีบน๎อยที่สุดคือ 6.6 เปอร์เซ็นต์ รองลงมาได๎แกํ การใสํปุ๋ยเคมีสูตร 16-16-8 อัตรา 9 กิโลกรัมตํอไรํ สูตร 0-0-60 อัตรา 1 กิโลกรัมตํอไรํ และสูตร 46-0-0 อัตรา
8 กิโลกรัมตํอไรํ ชํวงหลัง ปักดา ครั้งที่ 2 และใสํปุ๋ยสูตร 46-0-0 อัตรา 11 กิโลกรัมตํอไรํ ระยะกาเนิดชํอดอก มีความสูงเฉลี่ยของต๎น จานวนรวงตํอกอ เปอร์เซ็นต์เมล็ดลีบ น้าหนักผลผลิตเฉลี่ย และดัชนีการเก็บเกี่ยวเทำกับ 141 เซนติเมตร 18.6 รวงตํอกอ 5.3 เปอร์เซ็นต์ 426 กิโลกรัมตํอไรํ และ 0.56 ตามลาดับ และมีความแตกตำงกันทางสถิติ (p ≤ 0.01)
คาสาคัญ ข๎าวขาวดอกมะลิ 105 ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยคอกจากมูลวัว
เว็บพนันอันดับ1 HUC99 เว็บตรง ไม่ผ่านเอเย่นต์
ผู้วิจัย เมธาวรรณ ถันทอง | ปีที่พิมพ์ 2556 | อ่าน 89724 ครั้ง ดาวน์โหลด 102 ครั้ง
ผลของสารไคโตซานต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของผักกาดเขียว
กวางตุ้งที่ปลูกในระบบไฮโดรโปนิกส์
Effects of Chitosan on Growth and Yield of Chinese Cabbage-PAI
TSAI in Hydroponics System
โดย นางสาวเมธาวรรณ ถันทอง
ชื่อปริญญา วิทยาศาสตรบัณฑิต(เกษตรศาสตร์)
ปีการศึกษา 2556
อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ ดร. สังวาล สมบูรณ์
ศึกษาผลของสารไคโตซานต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของผักกาดเขียวกวางตุ้งที่ปลูกในระบบไฮโดรโปนิกส์โดยวางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) ประกอบด้วย 6 กลุ่มทดลอง กลุ่มทดลองละ 6 ซ้ำๆละ 25 ต้น รวมจำนวนหน่วยทดลองทั้งหมด 36 หน่วยทดลอง เป็นระยะเวลา 35 วัน ผลการทดลอง พบว่าการพ่นสารไคโตซานความเข้มข้น 0.08% มีผลทำให้การเจริญเติบโตของผักกาดเขียวกวางตุ้งเพิ่มขึ้น ต่างจากชุดควบคุมที่ใช้สารละลายมาตรฐานอนินทรีย์เพียงอย่างเดียว ทั้งในด้านความสูง ความยาวรากจำนวนใบและน้ำหนักสดต้น รองลงมาคือ การใช้สารไคโตซานความเข้มข้น 0.06%ไม่พ่นสารไคโตซาน พ่นสารไคโตซานความเข้มข้น 0.04% 0.02% และ 0.01% ตามลำดับดังนั้น ระดับความเข้มข้นสารไคโตซานที่เหมาะสมที่สุดในการเพาะปลูกผักกาดเขียวกวางตุ้ง คือ ไคโตซานความเข้มข้น 0.08%
ผู้วิจัย ยุทธิชัย มาลาสาย | ปีที่พิมพ์ 2557 | อ่าน 88040 ครั้ง ดาวน์โหลด 9 ครั้ง
บทคัดย่อ
เรื่อง ผลของไคติน-ไคโตซานจากเปลือกหุ้มลาตัวสัตว์ต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตข้าว
พื้นเมืองพันธุ์หอมทุ่ง
Effects of Chitin-Chitosan from Animal Shells on Growth and Yield of
Indigenous Hawm Thung Rice
โดย นายยุทธิชัย มาลาสาย
ชื่อปริญญา วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรศาสตร์)
ปีการศึกษา 2557
อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ ดร.สังวาล สมบูรณ์
ศึกษาผลของไคติน-ไคโตซานจากเปลือกหุ้มลาตัวสัตว์ 3 ชนิด ได้แก่ สารไคโตซานจากเปลือกปู กุ้ง และหอย เปรียบเทียบกับสารไคโตซานจากท้องตลาด (Bio proroots) และปุ๋ยอินทรีย์ ต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของข้าวพื้นเมืองพันธุ์หอมทุ่ง โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มตลอด (Randomized Complete Block Design, RCBD) ทั้งหมด 5 กลุ่มทดลอง จานวน 5 ซ้า ซ้าละ 10 กระถาง ผลการทดลองพบว่า การฉีดพ่นสารไคโตซานจากเปลือกปู ส่งผลให้การเจริญเติบโตและผลผลิตสูงกว่ากลุ่มทดลองที่เป็นสารไคโตซานจากเปลือกลาตัวสัตว์อื่นๆ และปุ๋ยอินทรีย์ โดยมีความสูงเฉลี่ยของต้นข้าวมากที่สุดคือ 97.30 เซนติเมตร จานวนต้นต่อกอ 13 ต้น/กอ มีจานวนรวงต่อกอ 10.60 รวงต่อกอ เปอร์เซ็นต์เมล็ดเฉลี่ยทั้งหมดต่อรวง 136.10 เมล็ด เปอร์เซ็นต์เมล็ดดีต่อรวงเฉลี่ย 75.40 เปอร์เซ็นต์ เปอร์เซ็นต์เมล็ดลีบ 26.30 เปอร์เซ็นต์ และมีน้าหนักเมล็ดดี 328.25 กรัม ตามลาดับ รองลงมาคือ การฉีดพ่นสารไคโตซานจากท้องตลาด มีความสูงเฉลี่ยของต้นข้าวคือ 89.80 เซนติเมตร จานวนต้นต่อกอ 12.50 ต้น/กอ จานวนรวงต่อกอ 9.90 รวงต่อกอ เปอร์เซ็นต์เมล็ดเฉลี่ยทั้งหมดต่อรวง 118.10 เมล็ด เปอร์เซ็นต์เมล็ดดีต่อรวงเฉลี่ย 77.50 เปอร์เซ็นต์ เปอร์เซ็นต์เมล็ดลีบ 22.70 เปอร์เซ็นต์ และน้าหนักเมล็ดดี 262.60 กรัม ผลที่ได้จากการทดลอง พบว่า การใช้สารไคโต-ซานจากเปลือกปูมีแนวโน้มทาให้การเจริญเติบโตและผลผลิตของข้าวพื้นเมืองพันธุ์หอมทุ่งดีมากที่สุด
คาสาคัญ ข้าวพันธุ์พื้นเมือง ไคโตซาน ผลผลิต การเจริญเติบโต
ผู้วิจัย สุรพงษ์ วงค์อนันต์ | ปีที่พิมพ์ 2556 | อ่าน 87756 ครั้ง ดาวน์โหลด 12 ครั้ง
ศึกษาผลของกรดซาลิไซลิกต่อการเจริญเติบโตและลักษณะทางสรีรวิทยาบางประการ
ของข้าวเจ้าพันธ์ุ กข 33 ในระยะต้นกล้าภายใต้สภาวะแล้ง แบ่งเป็ น 6 กลุ่มทดลอง ได้แก่
กลุ่มท