งานวิจัยที่มีผู้เข้าดูมากที่สุด
ชื่อเรื่อง | ประเภทงานวิจัย | ปีที่พิมพ์ | อ่าน | รายละเอียด |
---|---|---|---|---|
การเปรียบเทียบผลของการใช้กรดซิตริก (Citric Acid) และสารละลาย เกลือแกง (Sodium chloride) ที่มีความเข้มข้นและระยะเวลาแตกต่างกัน ซึ่งส่งผลต่อการยับยั้งการเกิดปฏิกิริยาสีน้าตาลในแอปเปิลตัดแต่ง | งานวิจัยสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร | 2555 | ||
อิทธิพลของการใช้ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยคอกต่อการให้ผลผลิตของดาวเรืองพันธุ์ ทองเฉลิม 5011 | งานวิจัยสาขาเกษตรศาสตร์ | 2556 | ||
การใช้นํ้าหมักชีวภาพต่อการเจริญเติบโตและคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวของผักกาดหอมเรดโอ๊คที่ปลูก ในระบบไฮโดรโปนิกส์ | งานวิจัยสาขาเกษตรศาสตร์ | 2556 |
งานวิจัยที่มีผู้เข้าดาวน์โหลดมากที่สุด
ชื่อเรื่อง | ประเภทงานวิจัย | ปีที่พิมพ์ | ดาวน์โหลด | รายละเอียด |
---|---|---|---|---|
การเปรียบเทียบผลของการใช้กรดซิตริก (Citric Acid) และสารละลาย เกลือแกง (Sodium chloride) ที่มีความเข้มข้นและระยะเวลาแตกต่างกัน ซึ่งส่งผลต่อการยับยั้งการเกิดปฏิกิริยาสีน้าตาลในแอปเปิลตัดแต่ง | งานวิจัยสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร | 2555 | ||
อิทธิพลของการใช้ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยคอกต่อการให้ผลผลิตของดาวเรืองพันธุ์ ทองเฉลิม 5011 | งานวิจัยสาขาเกษตรศาสตร์ | 2556 | ||
การใช้นํ้าหมักชีวภาพต่อการเจริญเติบโตและคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวของผักกาดหอมเรดโอ๊คที่ปลูก ในระบบไฮโดรโปนิกส์ | งานวิจัยสาขาเกษตรศาสตร์ | 2556 |
ผู้วิจัย อรพรรณ หมุนแก๎ว | ปีที่พิมพ์ 2557 | อ่าน 88505 ครั้ง ดาวน์โหลด 3 ครั้ง
บทคัดย่อ
เรื่อง ผลของอัตราการให๎ปุ๋ยเคมีและปุ๋ยอินทรีย์ตํอการเจริญเติบโตและผลผลิตของ
ข๎าวขาวดอกมะลิ 105 ในพื้นที่ อาเภอทุํงศรีอุดม จังหวัดอุบลราชธานี
Effects of Chemical and Organic Fertilizer Application Rates on Growth and Yield of KDML 105 Rice in Thungsriudom District, Ubon Ratchathani Province
โดย นางสาวอรพรรณ หมุนแก๎ว
ชื่อปริญญา วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรศาสตร์)
ปีการศึกษา 2557
อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์โดม หาญพิชิตวิทยา
ศึกษาอัตราการให๎ปุ๋ยเคมีและปุ๋ยอินทรีย์ที่เหมาะสมตํอการเจริญเติบโตและผลผลิตของข๎าวขาวดอกมะลิ 105 โดยวางแผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block Design (RCBD) จานวน 5 กลุํมทดลองๆ ละ 3 ซ้า ขนาดแปลงทดลอง 2×5 เมตร จานวน 15 แปลงยํอย
ผลการทดลองพบวำ การใสํปุ๋ยคอกจากมูลวัว อัตรา 200 กิโลกรัมตํอไรํ รํวมกับปุ๋ยเคมี สูตร 16-16-8 อัตรา 9 กิโลกรัมตํอไรํ สูตร 0-0-60 อัตรา 1 กิโลกรัมตํอไรํ และสูตร 46-0-0 อัตรา 8 กิโลกรัมตํอไรํ ชํวงหลังปักดา ครั้งที่ 2 และใสํปุ๋ยสูตร 46-0-0 อัตรา 11 กิโลกรัมตํอไรํ ระยะกาเนิดชํอดอก มีประสิทธิภาพมากที่สุด เนื่องจากมีความสูงเฉลี่ยของต๎น จานวนรวงตํอกอ น้าหนักผลผลิตเฉลี่ย และดัชนีการเก็บเกี่ยวสูงที่สุดคือ 148 เซนติเมตร 19.4 รวงตํอกอ 511 กิโลกรัมตํอไรํและ 0.67ตามลาดับ ในขณะเดียวกันก็มี เปอร์เซ็นต์เมล็ดลีบน๎อยที่สุดคือ 6.6 เปอร์เซ็นต์ รองลงมาได๎แกํ การใสํปุ๋ยเคมีสูตร 16-16-8 อัตรา 9 กิโลกรัมตํอไรํ สูตร 0-0-60 อัตรา 1 กิโลกรัมตํอไรํ และสูตร 46-0-0 อัตรา
8 กิโลกรัมตํอไรํ ชํวงหลัง ปักดา ครั้งที่ 2 และใสํปุ๋ยสูตร 46-0-0 อัตรา 11 กิโลกรัมตํอไรํ ระยะกาเนิดชํอดอก มีความสูงเฉลี่ยของต๎น จานวนรวงตํอกอ เปอร์เซ็นต์เมล็ดลีบ น้าหนักผลผลิตเฉลี่ย และดัชนีการเก็บเกี่ยวเทำกับ 141 เซนติเมตร 18.6 รวงตํอกอ 5.3 เปอร์เซ็นต์ 426 กิโลกรัมตํอไรํ และ 0.56 ตามลาดับ และมีความแตกตำงกันทางสถิติ (p ≤ 0.01)
คาสาคัญ ข๎าวขาวดอกมะลิ 105 ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยคอกจากมูลวัว
เว็บพนันอันดับ1 HUC99 เว็บตรง ไม่ผ่านเอเย่นต์
ผู้วิจัย นางสาวขนิษฐา คูณตาแสง และคณะ | ปีที่พิมพ์ 2559 | อ่าน 88206 ครั้ง ดาวน์โหลด 26 ครั้ง
บทคัดย่อ
การทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้ไข่แดงไก่ไข่ ไข่แดงไก่พื้นเมือง ไข่แดงนกกระทา และไข่แดงเป็ด ในสูตรสารละลายเจือจางน้ำเชื้อโค โดยใช้แผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ภายในบล็อก (RCBD) โดยมี 4 ทรีตเมนต์ คือ ไข่แดงไกไข่ ไข่แดงไก่พื้นเมือง ไข่แดงนกกระทา และไข่แดงเป็ด และมี 4 บล็อก 4 สัปดาห์ การเจือจางน้ำเชื้อใช้สูตร Egg Yolk Tris ใช้ไข่แดง 25% ของสารเจือจางน้ำเชื้อ ใช้พ่อพันธุ์โคชาร์โรเล่ส์ จำนวน 1 ตัว รีดน้ำเชื้อทุกสัปดาห์ น้ำเชื้อที่รีดได้แบ่งเป็น 4 ส่วน แล้วเจือจางด้วยสารเจือจางน้ำเชื้อ 4 ชนิด ที่มีส่วนประกอบของไข่แดงในแต่ล่ะสูตรร้อยละ 25 ของสารเจือจางน้ำเชื้อ นำน้ำเชื้อที่เจือจางไว้ไปเก็บในกระติกน้ำแข็งที่อุณหภูมิ 5 องศาเซลเซียส และทำการตรวจ การเคลื่อนที่ของอสุจิ ตรวจหาอสุจิที่มีชีวิต และตรวจหาอสุจิที่ปกติทุกๆ 24 ชั่วโมง ผลการศึกษาพบว่าการเคลื่อนที่ของอสุจิ ตรวจหาอสุจิที่มีชีวิต และตรวจหาอสุจิที่ปกติ ในทุกชั่วโมงของการตรวจไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ
คำสำคัญ : ไข่แดงไก่ไข, ไข่แดงไก่พื้นเมือง, ไข่แดงนกกระทา, ไข่แดงเป็ด, น้ำเชื้ออสุจิ
Abstract
The purpose of this study was to investigate the effect of different types of egg yolk (layers, native hens, quails and duck) in bull semen diluter. Experimental design was conducted using Randomized Complete Block Design (RCBD) with 4 types of egg yolks as the treatments and 4 periods of week as blocks. Semen dilution was based on Egg Yolk Tris formula. With 25% of egg yolk. Semen was collected from one Charolais bull each week and divided into 4 ports for each treatment. Semen was stored in ice box at 5 . motility, viability, normality were analyzed at 24 hours interval. The result found that there was on significant different among treatment. on motility, viability and normality
Keywords: egg yolk, layers, native hens, quails and duck, sperm, diluter
ผู้วิจัย นายมโนรม ขอสุข | ปีที่พิมพ์ 2558 | อ่าน 89125 ครั้ง ดาวน์โหลด 63 ครั้ง
บทคัดย่อ
เรื่อง ประสิทธิภาพของน้ำหมักชีวภาพที่ผลิตจากหอยเชอรี่ต่อการเจริญเติบโตและ
ผลผลิตของคะน้าสายพันธุ์แม่โจ้ 1
Effectof Golden Apple Snail Bio-Extract onGrowthandYieldofChineseKale “Maejo 1”
โดย นายมโนรม ขอสุข
ชื่อปริญญา วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรศาสตร์)
ปีการศึกษา 2558
อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ประภัสสร น้อยทรง
การศึกษาประสิทธิภาพของน้ำหมักชีวภาพที่ผลิตจากหอยเชอรี่ต่อการเจริญเติบโต และผลผลิตของคะน้าสายพันธุ์แม่โจ้ 1 ที่ปลูกในถุงดำโดยวางแผนทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) ประกอบด้วย 5 กลุ่มทดลองคือ 1.) ไม่ใช้น้ำหมักชีวภาพ (Control) 2.) น้ำหมักชีวภาพจากหอยเชอรี่ทั้งตัวพร้อมเปลือก 3.) น้ำหมักชีวภาพจากไข่หอยเชอรี่ 4.) น้ำหมักชีวภาพจากเนื้อหอยเชอรี่ 5.) น้ำหมักชีวภาพจากเนื้อหอยเชอรี่ ไข่หอยเชอรี่ และเปลือกหอยเชอรี่ จำนวน 3 ซ้ำ พบว่า การใช้น้ำหมักชีวภาพจากเนื้อหอยเชอรี่ ไข่หอยเชอรี่ และเปลือก หอยเชอรี่ มีประสิทธิภาพมากที่สุด เนื่องจากมีค่าความสูงเฉลี่ยของต้น ความกว้างและความยาวของใบเฉลี่ย น้ำหนักผลผลิตสดลำต้นพร้อมรากและน้ำหนักลำต้นสดเฉลี่ยมากที่สุดเท่ากับ 15.23 เซนติเมตร 6.71 เซนติเมตร 14.23 เซนติเมตร 13.33 กรัมต่อต้น และ 15.00 กรัมต่อต้น ตามลำดับ รองลงมาได้แก่ น้ำหมักชีวภาพจากไข่หอยเชอรี่ น้ำหมักชีวภาพจากหอยเชอรี่ทั้งตัวพร้อมเปลือก และน้ำหมักชีวภาพจากเนื้อหอยเชอรี่ ตามลำดับ ในขณะที่การไม่ใช้น้ำหมักชีวภาพทุกดัชนีตัวชี้วัดมีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด ดังนั้น หากต้องการส่งเสริมการเจริญเติบโตและการให้ผลผลิตของผักคะน้า และลดปริมาณการใช้ปุ๋ยเคมี แนะนำให้ใช้น้ำหมักชีวภาพจากเนื้อหอยเชอรี่ ไข่หอยเชอรี่ และเปลือก หอยเชอรี่ จะมีความเหมาะสมมากที่สุด
สล็อต เครดิตฟรี ไทยคาสิโนออนไลน์ thaibet55
ผู้วิจัย รัชนีกรณ์ ไชยดี | ปีที่พิมพ์ 2556 | อ่าน 89181 ครั้ง ดาวน์โหลด 70 ครั้ง
การใช้ส่วนต่างๆของต้นข้าวทดแทนขี้เลื่อยในการผลิตเห็ดนางฟ้า
ภูฐาน
Using Different Parts of Rice Plants to Substitute Sawdust for
Growing Phoenix Oyster Mushroom(Pleurotussajor-caju)
โดย นางสาวรัชนีกรณ์ ไชยดี
ชื่อปริญญา วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรศาสตร์)
ปีการศึกษา 2556
อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ ดร.เสกสรร ชินวัง
จากการทดลองใช้ส่วนต่างๆของต้นข้าวทดแทนขี้เลื่อยในการผลิตเห็ดนางฟ้าภูฐาน โดยวางแผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block Design (RCBD) แบ่งกลุ่มทดลองออกเป็น 5 กลุ่มทดลอง ๆ ละ 3 ซํ้า ๆ ละ 10 ถุง ๆ ละ 320 กรัม (นํ้าหนักแห้ง) พบว่าระยะเวลาในการบ่มตัวของเชื้อเห็ดนานที่สุดคือในแกลบดิบ 100%รองลงมาคือ ฟางข้าวความยาว 20 cm 100%, เมล็ดข้าวลีบ 100%,ขี้เลื่อย 100% และ ตอซัง 100% โดยมีระยะเวลาในการบ่มตัวของเชื้อเห็ดคือ 27, 24, 24, 22 และ 20 วัน ตามลำดับ จำนวนดอกที่ออกต่อถุงมากที่สุดคือใน ขี้เลื่อย 100% รองลงมาคือ ตอซัง 100%, ฟางข้าวความยาว 20cm 100%, เมล็ดข้าวลีบ 100% และ แกลบดิบ 100% โดยมีจำนวนดอกเฉลี่ยที่ 2.17, 1.26, 1.25, 1.14 และ 0.32 ดอก/ถุง ตามลำดับ ผลผลิตสดเฉลี่ยของเห็ดนางฟ้าสูงที่สุดในขี้เลื่อย 100% รองลงมาคือ ตอซัง100%, ฟางข้าวความยาว 20 cm 100%, เมล็ดข้าวลีบ 100% และ แกลบดิบ 100% โดยมีผลผลิตสดเฉลี่ยที่ 26.12, 14.28, 12.94, 11.90 และ 4.28 กรัม/ถุง ตามลำดับ